Gauri Gill

1970, Chandigarh, India

Gauri Gill earned a BFA (Applied Art) from the College of Art, New Delhi; BFA (Photography) from Parsons School of Design/The New School , New York; and MFA (Art) from Stanford University, California. She has exhibited within India and internationally, including MoMA PS1, New York; Documenta 14, Athens and Kassel; Kochi Biennale; 7th Moscow Biennale; Freer and Sackler Galleries at the Smithsonian Institution, Washington; Wiener Library, London; Art Gallery of Ontario, Toronto and Whitechapel Gallery, London. Her work is in the collections of prominent institutions worldwide, including the Museum of Modern Art, New York; Tate Museum, London; the Smithsonian Institution, Washington and Fotomuseum, Winterthur, and in 2011 she was awarded the Grange Prize, Canada’s foremost award for photography.

Gill’s practice is complex because it contains several lines of pursuit. These include an almost two decade long engagement with marginalised communities in rural Rajasthan called Notes from the Desert (since 1999)—this ongoing archive contains sub-series such as The Mark on the Wall, Traces, Birth Series, Jannat, Balika Mela, and Ruined Rainbow. She has explored human displacement and the migrant experience in The Americans and What Remains. Projects such as the 1984 notebooks highlight her sustained belief in collaboration and ‘active listening’, and in using photography as a memory practice. Beginning in early 2013, Fields of Sight is an equal collaboration with the renowned Adivasi artist, Rajesh Vangad, combining the contemporary language of photography with the ancient one of Warli drawing to co-create new narratives. In her most recent body of work, Acts of Appearance, (2015—), the artist has worked closely with the paper mache artists of the Kokna tribe in Maharashtra, using unique masks to tell fictional stories improvised together of contemporary life in the village. Working in both black and white and colour, Gill’s work addresses the twinned Indian identity markers of class and community as determinants of mobility and social behaviour; in it there is empathy, surprise, and a human concern over issues of survival

กอริ กิล 

เกิด พ.ศ. 2513, พำนักและทำงานที่ อินเดีย 

กอริ กิล จบการศึกษาปริญญาตรีด้านศิลปะประยุกต์จาก College of Art นิวเดลลี  และทางด้านภาพถ่าย จาก Parsons School of Design นิวยอร์ค และปริญญาโท จาก Standford University ที่แคลิฟอร์เนีย เธอเคยแสดงผลงานที่ิอินเดียและ เทศกาลศิลปะระดับโลก เช่น  Documenta14 ที่เอเธนส์ และ คาสเซิล, เทศกาลศิลปะ โคจิ เบียนนาเล่ รวมทั้งในพิพิธภัณฑ์และแกลเลอรี่ชั้นนำต่างๆ อาทิ Whitechapel Gallery ลอนดอน อังกฤษ, Freer and Sackler Galleries of Art at the Smithsonian Institution กรุงวอชิงตัน ดีซี, Philadelphia Museum of Art เมืองฟิลาเดลเฟีย สหรัฐอเมริกา, Art Gallery of Ontario โตรอนโต,  Herbert F. Johnson Museum มหาวิทยาลัยคอร์แนล, Yale Art Gallery, นิว ฮาเวน, Salzburger Kunstverein ซาลบูร์ก และ The National Gallery of Art วอซอร์ และเมี่อไม่นานนี้ได้มีงานแสดงเดี่ยว ที่ Galerie Mirchandani + Steinreucke มุมไบ อินเดีย, Thomas Erben Gallery นิวยอร์ค, Experimenter Gallery, กัลกาต้า และ the Wiener Library ลอนดอน

การทำงานของ กิล มีความซับซ้อนและเต็มไปด้วยเรื่องราวและความปรารถนาในชิ้นงาน เธอเคยไปใช้ชีวิตที่รัฐราชสถาน อินเดีย นานกว่า 20 ปี เพื่อศึกษาเรื่องคนชายขอบ กลุ่มชาติพันธุ์  ของ อินเดีย จนได้ผลงานภาพถ่ายหลายชุด เช่น  Notes from the Desert ปี พ.ศ. 2546  เธอมีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับประเด็นการพลัดถิ่น การถูกบังคับให้ย้ายถิ่นฐาน ของชาวพื้นเมืองในอเมริกา และสิ่งที่ยังเหลืออยู่ ตัวอย่างหนึ่งของโครงการศิลปะที่เธอทำ เช่น สมุดบันทึกในปี 2527 ที่สะท้อนความเชื่อมั่นในการอยู่ร่วมกัน และ “การฟังอย่างตั้งใจ” (active listening) โดยการใช้ภาพถ่ายเป็นสื่อแห่งความจำร่วมกัน งานชุดล่าสุดของกิล ในชื่อ Fields of Sight เป็นการทำงานร่วมกับกับกลุ่มศิลปิน Adivasi ที่เป็นที่รู็จัก ผ่านการผสมผสานของวิธีการถ่ายภาพแบบร่วมสมัย และการวาดเส้นแบบ Warli เพื่อจะสร้างเรื่องราวใหม่ร่วมกัน โดยการใช้สีขาวดำ ผลงานกิลของย้ำให้เห็นอัตลักษณ์แฝดของชาวอินเดีย ของวรรณะในสังคมที่เป็นตัวกำหนดการอพยพและพฤติกรรมทางสังคม ผลงานภาพถ่ายของกิล เต็มไปด้วย ความเห็นอกเห็นใจกันระหว่างเพื่อนมนุษย์ ความประหลาดใจ และความกังวลในประเด็นของความอยู่รอดของมนุษย์